แมกนิจูด ไม่ได้มาแทนคำว่า ริกเตอร์
แมกนิจูด ไม่ได้มาแทนคำว่า ริกเตอร์ เพราะมันไม่มีอะไรเกี่ยวข้องกัน ใช้แทนกันไม่ได้ แต่ใช้เสริมกันได้
(แมกนิจูด เป็นคำประกอบ ใช้หรือไม่ก็ได้)
(แมกนิจูด เป็นคำประกอบ ใช้หรือไม่ก็ได้)
- แมกนิจูด คือ ขนาด เมื่อก่อนใช้กับเรื่องอื่น เช่น ความสว่างของดาว แต่ ชาลส์ ฟรานซิส ริกเตอร์
เป็นคนแรกที่นำมาใช้กับแผ่นดินไหว
เป็นคนแรกที่นำมาใช้กับแผ่นดินไหว
- ริกเตอร์ เป็น มาตราวัดขนาดของแผ่นดินไหว ตัวย่อ ML นอกจากนี้ยังมี มาตราโมเมนต์ (Mw)
มาตราคลื่นผิว (MS) มาตราคลื่นตัวกลาง (mb)
มาตราคลื่นผิว (MS) มาตราคลื่นตัวกลาง (mb)
- มาตราริกเตอร์ เกิดก่อนมาตราอื่น ข้อดีคือ คำนวนได้เร็วสุด แต่ใช้ได้กับความไกลจากจุดที่เกิดแผ่นดินไหว
ไม่เกิน 600 กิโลเมตร หรือเต็มที่ไม่เกิน 1,000 กิโลเมตร เหมาะกับประเทศเล็ก เช่น ไทย ไต้หวัน,
ประเทศใหญ่ๆ จะไม่ใช้ริกเตอร์
ไม่เกิน 600 กิโลเมตร หรือเต็มที่ไม่เกิน 1,000 กิโลเมตร เหมาะกับประเทศเล็ก เช่น ไทย ไต้หวัน,
ประเทศใหญ่ๆ จะไม่ใช้ริกเตอร์
ตัวอย่างการใช้คำ....
- แผ่นดินไหว 2.5 ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหวขนาด 2.5 ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหวแมกนิจูด 2.5 ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหว 2.5 แมกนิจูด ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหว 2.5 ตามมาตราริกเตอร์ ที่แม่ฮ่องสอน (ห้ามตกคำว่า มาตรา เด็ดขาด)
- แผ่นดินไหวขนาด 2.5 ตามมาตราริกเตอร์ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหวแมกนิจูด 2.5 ตามมาตราริกเตอร์ที่แม่ฮ่องสอน
- แผ่นดินไหว 7.8 ที่เนปาล (ไม่แน่ใจว่าข่าวเป็นมาตราอะไรก็ไม่ต้องใส่มาตรา
อย่าใส่ริกเตอร์เข้าไปเอง เพราะเขาอาจวัดด้วยมาตราอื่น)
ที่มา: JIMMY'S BLOG
อย่าใส่ริกเตอร์เข้าไปเอง เพราะเขาอาจวัดด้วยมาตราอื่น)
ที่มา: JIMMY'S BLOG
ถ้าเป็นตัวเลขจาก USGS จะใช้มาตราโมเมนต์แมกนิจูด (Moment Magnitude Scale)
มาตราเหล่านี้ล้วนแล้วแต่เป็นตัวเลข ไม่มีหน่วยแต่ประการใด ถ้าจะเรียกให้สละสลวยและถูกต้องในภาษาไทย
ก็น่าจะใช้คำว่าแผ่นดินไหวความรุนแรง 7.8 ตามมาตราโมเมนต์แมกนิจูด
ก็น่าจะใช้คำว่าแผ่นดินไหวความรุนแรง 7.8 ตามมาตราโมเมนต์แมกนิจูด
ที่มา http://earthquake.usgs.gov/learn/topics/measure.php
* กรมสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (United States Geological Survey : USGS)
* กรมสำรวจธรณีวิทยาแห่งสหรัฐอเมริกา (United States Geological Survey : USGS)
ขนาด (Magnitude)
เป็นปริมาณที่มีความสัมพันธ์กับพลังงานที่พื้นโลก ปลดปล่อยออกมาในรูปของการสั่นสะเทือน
คำนวณได้จากการตรวจวัดค่าความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่ตรวจวัด ได้ด้วยเครื่องมือตรวจแผ่นดินไหว
โดยเป็นค่าปริมาณที่บ่งชี้ขนาด ณ บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ตามมาตราริกเตอร์
มีขนาดตั้งแต่ 1-9 ตามมาตราริกเตอร์
คำนวณได้จากการตรวจวัดค่าความสูงของคลื่นแผ่นดินไหวที่ตรวจวัด ได้ด้วยเครื่องมือตรวจแผ่นดินไหว
โดยเป็นค่าปริมาณที่บ่งชี้ขนาด ณ บริเวณศูนย์กลางแผ่นดินไหว ตามมาตราริกเตอร์
มีขนาดตั้งแต่ 1-9 ตามมาตราริกเตอร์
ความรุนแรงแผ่นดินไหว (Intensity)
แสดงถึงความรุนแรงของเหตุการณ์แผ่นดินไหวที่เกิดขึ้น วัด ได้จากปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้น ขณะเกิด
และหลังเกิดแผ่นดินไหว เช่น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่วัตถุหรือ อาคารเสียหายหรือสภาพภูมิประเทศ
ที่เปลี่ยนแปลง เป็นต้นในกรณีของประเทศไทยใช้ มาตราเมอร์แคลลี่ สำหรับเปรียบเทียบอันดับ
ซึ่งมีทั้งหมด 12 อันดับ เรียงลำดับความรุนแรงแผ่นดินไหวจากน้อยไปมาก
และหลังเกิดแผ่นดินไหว เช่น ความรู้สึกของผู้คน ลักษณะที่วัตถุหรือ อาคารเสียหายหรือสภาพภูมิประเทศ
ที่เปลี่ยนแปลง เป็นต้นในกรณีของประเทศไทยใช้ มาตราเมอร์แคลลี่ สำหรับเปรียบเทียบอันดับ
ซึ่งมีทั้งหมด 12 อันดับ เรียงลำดับความรุนแรงแผ่นดินไหวจากน้อยไปมาก
ที่มา : https://pantip.com/topic/33577516
การรายงานข่าวแผ่นดินไหว
รวบรวมโดย Weerachai Jansook
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น