>>โครงสร้างโลก
สสารต่างๆภายในโครงสร้างโลก ประกอบไปด้วยหิน และแร่ธาตุต่างๆ มีสถานะทั้งเป็นของแข็งและของเหลว และในโลกเรามีหินหนืดที่อยู่ภายในโลก มีการเคลื่อนหมุนวนด้วยการพาความร้อน ที่ทำให้แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่และดันตัวกัน ก่อให้เกิดเหตุการณ์และลักษณะทางธรณีวิทยาต่างๆในโลก อย่างเช่น เหตุการณ์แผ่นดินไหว ภูเขาไฟระเบิก เกิดลักษณะทางธรณีวิทยา ภูเขา หุบเขาและที่ราบ ในส่วนของเปลือกโลกและผิวโลกมีการเปลี่ยนแปลงเกิดการหมุนเวียนของแร่ ธาตุ เกิดหิน ดินและแร่ธาตุในผิวโลก เกิดการการผุพังของหินเปลือกโลก เนื่องจากปัจจัยต่างๆเข้ามาเกี่ยวข้อง เช่นแรงโน้มถ่วง การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ ความชื้น อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมและมนุษย์ก็มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนี้
ในการศึกษาการแบ่งโครงสร้างโลก สามารถแบ่งโครงสร้างโลกตามลักษณะทางกายภาพและตามองค์ประกอบทางเคมี ได้ดังต่อไปนี้
( อ้างอิงจากwww.lesa.biz สามารถศึกษาได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ )
เปรียบเทียบความเร็วคลื่นไหวสะเทือนผ่านโครงสร้างโลก
ศึกษาเพิ่ม >>Powerpoint
>>ศึกษาเพิ่มYoutube ( อ้างอิงจากwww.lesa.biz สามารถศึกษาได้จากลิงค์ดังต่อไปนี้ )
ความหนา ความลึกในโครงสร้างโลก
เปรียบเทียบปริมาณ พื้นที่ในโครงสร้างโลก
แหล่งอ้างอิง https://web.ics.purdue.edu/~braile/edumod
เปรียบเทียบความเร็วคลื่นไหวสะเทือนผ่านโครงสร้างโลก
- นำเข้าสู่บทเรียนDoNow 👈
- ppt1.1 โครงสร้าง👈
- ppt1.2 โครงสร้างโลก👈
- ppt1.3 คลื่นไหวสะเทือน 👈
- ppt1.4 ธรณีวิทยาในจังหวัดแพร่👈
>> กิจกรรมการเรียนรู้
- คำถามกระตุ้นการเรียนรู้👈
- คำสำคัญ1โครงสร้างโลก
- กิจกรรม1.1 โครงสร้างโลก
- กิจกรรม1.2 คลื่นไหวสะเทือนอย่างไร.doc
- กิจกรรม1.3 พลังคลื่นแผ่นดินไหว.docx
- กิจกรรม1.4ส่วนประกอบของโลก.doc
- กิจกรรม1.5กิจกรรมแบบจำลองโครงสร้างโลก.doc
- กิจกรรม Mindmapโครงสร้างโลก
- คำถามในหน่วยการเรียนรู้ โครงสร้างโลก.docx
>> ประเมินผล
- แบบทดสอบก่อนเรียน
- แบบทดสอบหลังเรียน
โครงสร้างโลก - ดร.พรเทพ จันทราอุกฤษฎ์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโครงสร้างภายในโลก ได้แก่ แก่นโลก เนื้อโลก และเปลือกโลก และองค์ประกอบทัง้กายภาพและเคมีของวัสดุภายในโลก
2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบายโครงสร้างและปรากฏการณ์ภายในโลกได้
จัดทำโดย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นภดล ม่วงน้อยเจริญ
ภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
>>Youtube Playlist
https://www.youtube.com/playlist?list=PLNMDRXKhHRixk3lvKGl6_2kCjTZz0wo6M
แหล่งอ้างอิง
- http://www.chaiyatos.com/geo_lesson1.htm
- http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure
- http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/physical-structure
- http://www.lesa.biz/earth/lithosphere/earth-structure/chemical-structure
- https://courses.lumenlearning.com/geophysical/chapter/the-composition-and-structure-of-earth/
- https://www.gsi.ie/en-ie/education/our-planet-earth/Pages/The-Earth-structure.aspx
จัดทำโดย.... นายวีระชัย จันทร์สุข
ครูชำนาญการพิเศษ
https://quizizz.com/admin/quiz/5be918538592ac001a42453a
ตอบลบhttps://quizizz.com/collection/5c0c44c315ce5c001a0e609d
ตอบลบ